초록

วามร่วมมือในการสนทนาของไกรซ์และแนวคิดทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ ในเฟซบุ๊กแฟนเพจ “กูจะฮาก็ตรงคอมเม้นต์นี่แหละ” ซึ่งเป็นแฟนเพจที่รวบรวมบทสนทนาจากกระดานสนทนาใน เว็บไซต์ต่างๆ ที่ตัดตอนมาเฉพาะข้อความเริ่มต้นการสนทนาและการตอบบทสนทนาที่สร้าง ความขบขัน ผลการศึกษาพบว่าบทสนทนาที่สร้างความขบขันโดยการไม่ปฏิบัติตามหลัก ความร่วมมือในการสนทนาของไกรซ์ ทัง้ 4 หลัก ที่พบมากที่สุดคือการไม่ปฏิบัติตามหลักด้าน ความสัมพันธ์ เมื่อพิจารณาตามแนวคิดทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ พบว่า ผู้แสดงความเห็นสร้าง ความขบขันด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การละเมิดกฎความโดดเด่น(Violation of salience) แบบ เป็นไปได้และแบบเป็นไปไม่ได้ การละเมิดกฎลำดับชัน้ ในการเข้าถึงข้อมูล (Violation of accessibility hierarchy) และการละเมิดกฎการรักษาความคู่ขนาน (Violation of parallelism)โดยการละเมิดกฎลำดับชัน้ ในการเข้าถึงข้อมูลพบมากที่สุด เมื่อพิจารณาการปรากฏร่วมระหว่างกลวิธีในการสร้างความขบขันตามหลักความร่วมมือในการสนทนากับ แนวคิดทางด้านวัจนปฏิบัติศาสตร์ พบว่า การละเมิดกฎลำดับชัน้ ของข้อมูลเพื่อสร้างความ ขบขันมักปรากฏร่วมกับบทสนทนาที่ไม่ปฏิบัติตามหลักความร่วมมือในการสนทนาด้าน ความสัมพันธ์และด้านคุณภาพ ส่วนการละเมิดกฎความโดดเด่นแบบเป็นไปได้เพื่อสร้างความ ขบขันมักปรากฏร่วมกับบทสนทนาที่ไม่ปฏิบัติตามหลักความร่วมมือในการสนทนาด้านลักษณะ

키워드

ความขบขัน, กลวิธีทางภาษา, หลักความร่วมมือในการสนทนา, วัจนปฏิบัติศาสตร์, เฟซบุ๊คแฟนเพจ

참고문헌(9)open

  1. [기타] / กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ และ ธีรนุช โชคสุวณิช. 2551. วัจนปฏิบัติศาสตร์. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. [기타] / ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน

  3. [기타] / สุจริตลักษณ์ ดีผดุง. 2552. วัจนปฏิบัติศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยภาษาและ วัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล

  4. [기타] / สุจิตรา แซ่ลิ่ม. 2549. ความกำกวมอย่างจงใจในปริศนาคำทายร่วมสมัยของ ไทย. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  5. [기타] / หนึ่งฤทัย ชวนะลิขิกร, รชนียา กลิ่นนำ้ หอมและวรวรรณา เพ็ชรกิจ. 2554. “อารมณ์ขันในข้อความท้ายรถ:เสน่ห์ทางภาษาที่ไม่ควรมองข้าม.” ใน วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 (ก.ค.- ธ.ค. 2554), หน้า 69 – 77

  6. [단행본] Grice, Paul. / 1975 / Syntax and Semantics 3: Speech Acts / Academic Press : 41 ~ 58

  7. [단행본] Kees van / Semantic Ambiguity and Underspecification / Center of the study of language and information : 1 ~ 26

  8. [단행본] Massimo Poesio / 1996 / Ambiguity and Underspecification / Center of the study of language and information

  9. [단행본] Weiner, E. Judith / 1996 / Towards a Social Science of Language: Papers in Honor of William Labov; Vol.2 (Social Interaction and Discourse Structures) / John Benjamins Publishing Company : 139 ~ 151